Skip to content
สมาคมโปรแกรมเมอร์ไทย Thai Programmer Association
  • ข่าวสาร/กิจกรรม
  • โครงการ
  • สาระความรู้
  • สมาชิก
    • สมาชิกนิติบุคคล
  • เกี่ยวกับสมาคม
    • คณะกรรมการ
    • ข้อบังคับสมาคม
    • ติดต่อสมาคม
    • Merchandise
      • ของที่ระลึก
      • ตรวจสอบคำสั่งซื้อ
  • เส้นทางโปรแกรมเมอร์
0Member
  • ข่าวสาร/กิจกรรม
  • โครงการ
  • สาระความรู้
  • สมาชิก
    • สมาชิกนิติบุคคล
  • เกี่ยวกับสมาคม
    • คณะกรรมการ
    • ข้อบังคับสมาคม
    • ติดต่อสมาคม
    • Merchandise
      • ของที่ระลึก
      • ตรวจสอบคำสั่งซื้อ
  • เส้นทางโปรแกรมเมอร์

Nintendo

อะไรคือสิ่งที่ UX ในปี 1989 สอนเรา?

อะไรคือสิ่งสำคัญในบริบทของผู้ใช้เมื่อออกแบบผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ? ผู้เขียนขอพาพวกคุณกลับไปในยุค 1989 ก่อนที่จะมีไอโฟน เกม ออฟ โทรน และเน็ตฟลิกซ์ ในยุคนั้นมีบริษัทใหญ่ 3 บริษัทที่ออกเกมคอนโซล ได้แก่ นินเทนโด เซก้า และอาตาริ ก่อนหน้าที่จะมีการออกเกมคอนโซล เด็กเล็กๆ มักออกไปเล่นนอกบ้าน และผู้ใหญ่นิยมอ่านหนังสือและพูดคุยกันเกี่ยวกับคนที่นั่งอยู่ถัดไป นินเทนโดขายเกมบอย เซก้าขายเกมเกียร์ และอาตาริขายลิงซ์ ซึ่งเกมเกียร์และลิงซ์เป็นจอภาพสี มีทั้งหมด 4,096 สี ในขณะที่เกมบอยเป็นสีเทา 4 เฉดบนจอสีเขียว เกมเกียร์และลิงซ์เล่นง่ายกว่ามาก และมีขนาดใหญ่กว่า จากข้อมูลที่กล่าวมา คุณคิดว่าเกมคอนโซลอันไหนที่คุณจะซื้อ? คำใบ้ เกมคอนโซลอันหนึ่งขายได้ 180.7 ล้านก๊อปปี้ ในขณะที่อีกสองอันที่เหลือขายได้ 3 และ 10.67 ล้านก็อปปี้ ขณะที่เกมเกียร์และลิงซ์ที่มีเทคโนโลยีสูงกว่า แต่เกมบอยกลับครองยอดขาย 180.7 ล้านเครื่อง และเป็นเกมคอนโซลที่ขายดีที่สุดในศตวรรษที่ 20 ทำไมถึงเป็นอย่างนั้นไปได้….? ทีมผู้ผลิตเกมนินเทนโดภายใต้หัวเรือใหญ่ คุณกุนเป โยโคอิไม่ได้รับการฝึกปรือด้านการออกแบบหรือประสบการณ์ผู้ใช้งานอย่างเป็นมืออาชีพมาก่อน แต่คุณโยโคอิเป็นคนมีความคิดสร้างสรรค์ และรู้จักใช้เทคโนโลยีเก่าให้ทันสมัย มีราคาไม่แพง […]

อ่านต่อ

เกี่ยวกับสมาคม

เกี่ยวกับเรา
ข่าวสาร
นโยบายความเป็นส่วนตัว

สนับสนุน

Merchandise
ตรวจสอบออร์เดอร์

สมาชิก

สมัครสมาชิก

ช่องทางติดต่อสมาคม

www.thaiprogrammer.org
ThaiProgrammerSociety
@thaiprogrammer
github.com/ThaiProgrammer
thaiprogrammer
thai_programmer

[email protected]

จันทร์ - ศุกร์
9.00 - 21.00 น.

©2024 thaiprogrammer.org All rights reserved.