
สาระความรู้
สาระความรู้จากสมาคมโปรแกรมเมอร์ไทย
การเรียนรู้ของเครื่อง(Machine Learning)และการเรียนรู้เชิงลึก(Deep Learning):ความแตกต่างระหว่างสองสิ่งนี้?
อะไรคือปัญญาประดิษฐ์(Artificial Intelligence : AI) AI บ่งบอกไปถึงความสามารถทางปัญญาของเครื่องจักร(machine) โดยมาตรฐานของ AI ถูกวัดด้วยสติปัญญาของมนุษย์ คำนึงถึง ความมีเหตุผล,การพูดและการมองเห็น แต่มาตรฐานนี้ยังห่างไกลอยู่มากจากปัจจุบัน
สร้างระบบเทรดอัตโนมัติของตนเองเเบบ Step by Step Part 1
บทความนี้เป็นบทความตามผลการโหวตแนะนำบทความจากบทความ Algorithmic Trading 101 โดยเราหวังว่าคุณจะเข้าใจพื้นฐานของ Algorithm Trade หุ้น และ ผลกำไรก่อน ถ้าพร้อมเเล้วไปเริ่มสร้างระบบเทรดหุ้นจากพื้นฐาน บทความนี้จะอธิบายทุก ๆ ขั้นตอนที่จำเป็นในการสร้างระบบเทรด เราจะใช้เครื่องมือเทรดที่เราชอบที่สุด คือ Amibroker ในการสร้างระบบเทรดอัตโนมัติ
ท็อป 5 ภาษาโปรแกรมมิ่งที่ใช้ในการพัฒนา AI
ถ้าคุณกำลังทำโปรเจคเกี่ยวกับ AI เเต่ยังตัดสินใจไม่ได้ว่าจะเลือกใช้ภาษาโปรแกรมมิ่งภาษาไหนดี คุณมาถูกทางเเล้วครับ เพราะบทความนี้จะกล่าวถึงภาษาโปรแกรมมิ่งเหมาะสมและกำลังเป็นที่นิยมในวงการ AI ให้คุณได้ลองพิจารณา AI ก็ถือว่าเป็นศาสตร์ด้านวิศวกรรมแขนงหนึ่ง โดยมีจุดประสงค์เพื่อทำให้คอมพิวเตอร์มีความฉลาดมากขึ้น หรือ มีความคิดความอ่านใกล้เคียงกับมนุษย์นั่นเอง โดยผู้เขียนจะขอแนะนำภาษาในการพัฒนา AI ดังต่อไปนี้
UI vs. UX: อะไรคือความแตกต่างระหว่าง user interface และ user experience
UI vs. UX: อะไรคือความแตกต่างระหว่าง user interface และ user experience ในระดับพื้นฐาน User Interface (UI) คือชุดของหน้าจอ หน้าเว็บ และองค์ประกอบแบบรูปภาพต่างๆ เช่น ปุ่มและไอคอน ซึ่งจะช่วยให้บุคคลสามารถโต้ตอบกับผลิตภัณฑ์หรือบริการได้ ตรงกันข้ามกับ User experience (UX) ที่เป็นประสบการณ์ภายในที่บุคคลหนึ่งมีส่วนร่วมในทุกๆด้านของผลิตภัณฑ์และบริการของบริษัท
เทรนด์ UI design สำหรับ 2019
เช่นเดียวกับโลกแห่งแฟชั่น โลกของ UX และ UI ก็มีเทรนด์ที่มาและไป ในปีนี้เทรนด์การออกแบบ UI จะใหญ่และชัดเจน และช่วยให้คุณสามารถดื่มด่ำกับมันได้อย่างเต็มที่ ในขณะที่เทรนด์ UI design สำหรับ 2018 ได้เห็นการเติบโตขึ้นของ Artificial Intelligence (AI) แต่คุณควรทราบด้วยว่า Augmented Reality (AR) และ Virtual Reality (VR) จะมีบทบาทอย่างมากในการออกแบบ UI ของปี 2019 ลองมาดูเทรนด์ UI ที่จะเห็นได้ในปี 2019:
มาทำความรู้จัก Tensorflow
อะไรคือ Tensorflow Tensorflow ก็คือ deep learning library ของกูเกิ้ล ที่กำลังเป็นดาวเด่นอยู่ในตอนนี้, โดยทาง Google ก็ได้ใช้ machine learning เพิ่มประสิทธิภาพกับผลิตภัณฑ์มากมาย ไม่ว่าจะเป็น เครื่องมือค้นหา (search engine), การแปลภาษา (translation), คำบรรยายภาพ (image captioning) และ เครื่องมือช่วยการเสนอแนะ (recommendations)
Deep learning คืออะไร ?
Deep learning คือ ? deep learning คือ ซอฟแวร์คอมพิวเตอร์ที่่เลียนแบบการทำงานของระบบโครงข่ายประสาท(neurons )ในสมองมนุษย์ ถือเป็นซับเซ็ตของ machine learning Algorithm ของ deep learning ถูกสร้างขึ้นจากการนำเอา neural network หลายๆ layer มาต่อกัน โดย layer แรกสุดจะทำหน้าที่ในการรับข้อมูล ( Input layer ) layer สุดท้ายจะทำหน้าที่ส่งผลลัพธ์การประมวลผลออกมา ( Output layer ) ส่วน layer ระว่าง layer แรกสุด เเละ layer สุดท้าย จะถูกเรียกว่า Hidden layer
ปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) คืออะไร ???
ปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) คือ เครื่องจักร(machine) ที่มีฟังก์ชันทีมีความสามารถในการทำความเข้าใจ เรียนรู้องค์ความรู้ต่างๆ อาทิเช่น การรับรู้ การเรียนรู้ การให้เหตุผล และการแก้ปัญหาต่างๆ เครื่องจักรที่มีความสามารถเหล่านี้ก็ถือว่าเป็น ปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) นั่นเอง เพราะฉะนั้นจึงสามารถกล่าวได้ว่า AI ถือกำเนิดขึ้นเมื่อเครื่องจักรมีความสามารถที่จะเรียนรู้นั่นเอง ซึ่ง AI ก็ถูกแบ่งออกเป็นหลายระดับตามความสามารถหรือความฉลาด โดยจะวัดจากความสามารถในการ ให้เหตุผล การพูด และทัศนคติของ AI ตัวนั้นๆ เมื่อเปรียบเทียบกับมนุษย์อย่างเราๆ
เรียนรู้ React.js ใน 5 นาที
เรียนรู้ React.js ใน 5 นาที คำแนะนำเบื้องต้นกับ JavaScript Library ที่นิยมมากที่สุด บทช่วยสอนนี้จะทำให้เข้าใจพื้นฐานของ React.js โดยจะสอนให้สร้างแอปพลิเคชันง่ายๆ ซึ่งหัวข้อนี้อาจจะไม่ลงรายละเอียดลึกมาก เมื่ออ่านบทความนี้ก็มีการแนะนำหลักสูตร React ฟรีได้ที่นี้ https://scrimba.com/g/greactchatkit
How to Get Hired by Top Tech Companies
Disclaimer เนื้อหาในบทความนี้เป็นมุมมองของผู้เขียนเพียงอย่างเดียว ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับนายจ้างปัจจุบันหรืออนาคต เนื้อหาทุกอย่างเป็นเพียงแนวทางทั่วไป ซึ่งอาจแตกต่างไปในแต่ละบริษัทหรือตำแหน่งงาน คิดว่าหลายๆคนคงอยากรู้ว่าการจะเข้าไปทำงานในตำแหน่งวิศวกร (Engineer) กับบริษัทใหญ่ๆระดับโลก เช่น Facebook Google Amazone Microsoft Apple ฯลฯ นั้นต้องทำอย่างไรบ้าง ผมได้มีโอกาสสัมภาษณ์งาน และกำลังจะเข้าทำงานกับหนึ่งในบริษัทข้างต้น จึงอยากมาแชร์ประสบการณ์นี้กันครับ สไลด์ประกอบบทความนี้ดูได้ที่ https://www.slideshare.net/supasate/how-to-get-hired-by-top-tech-companies เป้าหมาย เนื่องจากว่าภรรยาของผมนั้นอยากไปลองใช้ชีวิตอยู่ที่อเมริกา เป้าหมายตั้งต้นของผมเลยก็คือสมัครงานกับบริษัทที่อเมริกา (ใครกำลังคิดว่ากลัวเมีย ขอให้เปลี่ยนไปใช้คำว่าเคารพเมียแทนนะครับ) ก็เลยมองหาว่าถ้าต้องไปแล้วก็อยากทำงานกับบริษัทที่มีอย่างน้อย 4 ใน 7 คุณสมบัติต่อไปนี้ เป็นองค์กรที่มี Engineering Culture เป็นองค์กรที่มีสภาพแวดล้อมเหมาะแก่การพัฒนาตัวเอง เปิดโอกาสให้ลองสิ่งใหม่ๆที่สนใจ เป็นองค์กรที่เต็มไปด้วยคนที่เก่งกว่าเรา เป็นองค์กรที่ผมชอบใช้ผลิตภัณฑ์ของเค้า เป็นองค์กรที่เน้นด้านการศึกษา เป็นองค์กรที่สนับสนุนให้มีส่วนร่วมกับชุมชนโอเพ่นซอร์ส เป็นองค์กรระดับต้นๆของโลกหรือเป็นองค์กรที่มีการเติบโตสูง ผลลัพธ์ ผมเริ่มยื่นสมัครงานเดือนกุมภาพันธ์ 2559 แต่พบว่าหลายอย่างนั้นยากกว่าที่คิดโดยเฉพาะปัญหาเรื่อง Visa (จะกล่าวต่อไป) ซึ่งสุดท้ายแล้วผมยังไม่สามารถเข้าอเมริกาได้ แต่ก็ได้งานที่ Facebook สาขาสิงคโปร์แทน โดยกว่าจะได้งานใช้เวลาเกือบ 1 ปี (รู้ผลว่าผ่านคือ […]
Programmer Interview by สมาคมโปรแกรมเมอร์ไทย ตอนที่ 6 –ไพบูลย์ พนัสบดี
Programmer Interview by สมาคมโปรแกรมเมอร์ไทย ตอนที่ 6 –ไพบูลย์ พนัสบดี – อดีต CTO บริษัททำเกมส์ Levelup Studio เป็นระยะเวลา 7 ปี ช่วงเวลาสัมภาษณ์ – 22.00 – 23.00 น. วันที่ 19 มกราคม 2560 รูปแบบการดำเนินรายการ : ถาม-ตอบ โดยพิธีกร – 30 นาทีแรก – คำถามจากสมาคมโปรแกรมเมอร์ไทย – 30 นาทีสุดท้าย ผู้ดำเนินรายการ : Oak – Founder acourse.io, รองนายาสมาคมโปรแกรมเมอร์ไทย หัวข้อที่ผู้ชมสามารถถามได้ – ทุกเรื่องเกี่ยวกับการพัฒนาเกมส์ – Codeigniter – MongoDB – Unity3D […]
Big Data in Action : Application and Work in Progress
เมื่อวาน (1 เม.ย. 59) ผมได้มีโอกาสไปฟังสัมมนา “Big Data in Action : Application and Work in Progress” จัดโดยภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ ILP ซึ่งหลายหัวข้อฟังสนุกมาก โดยทางภาควิชาได้ร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ในการทำวิจัยหรือสร้าง Tool ต่างๆเพื่อนำไปใช้จริงจากคนที่ต้องการจริง เดี๋ยวขอไล่ไปทีละหัวข้อนะครับ บางส่วนจดไม่ทันเพราะฟังเพลิน ถ้าผิดพลาดประการใดขออภัยมา ณ ที่นี้ครับ (แต่ละหัวข้อชื่อแรกจะเป็นอาจารย์จากภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์) ========================== หัวข้อที่ 1 “Facebook Status Life” โดย ผศ. ดร.สุกรี สินธุภิญโญ ร่วมกับ คุณณรงค์ อินทร์ธิรักษ์ นิสิตปริญญาเอก คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เริ่มจากหัวข้อเบาๆใกล้ๆตัวเรา โดยคำถามเริ่มมาจากว่า “เรารู้พฤติกรรมผู้ใช้ Facebook ในประเทศไทยมากน้อยขนาดไหน” เลยเริ่มทำการวิเคราะห์ในแง่มุมต่างๆ โดยแง่มุมนี้คือคำถามต่อมาว่า “ช่วงชีวิตของ […]